ช่วง 1-3 เดือน
ตัวอ่อนจะเริ่มสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะ
10 วัน : ไข่กลายเป็นตัวอ่อนเริ่มมีการแบ่งเซลล์ออกเป็น 3 ส่วน แต่กต่างกันเพื่อสร้างอวัยวะต่าง ๆ ผม ระบบประสาท กระดูกอ่อน กระดูกกล้ามเนื้อ ระบบย่อยอาหาร และต่อมต่าง ๆขั้นมา
3 สัปดาห์ : หัวในเริ่มเต้น
ท่อขนาดเล็กถูกสร้างขั้นมาจากหลอดเลือด 2 เส้น มีบทบาทเป็นหัวใจเต้นเริ่มเห็นเป็นโครงศรีษะ ปอดเริ่มทำงาน และหนึ่งสัปดาห์หลังจากนั้น ตัวอ่อนจะเติบโตขึ้นมามีขนาดเท่าผลลูกเบอร์รี่ และน้ำหนักจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ระบบประสาทเริ่มเกิดขึ้นแต่ยังไม่มีอวัยวะอื่นปรากฏ
5 สัปดาห์ : ตัวอ่อนมีการเปลี่ยนแปลง
ตัวอ่อนจะมีลักษณะโค้งงอและเห็นโครงของร่างกาย อวัยวะทุกส่วนจะทำงานสัมพันธ์กัน ศรีษามีขนาดใหญ่ขึ้น มีเค้าโครงหน้า ดวงตากลม และดำ ในช่วงเวลานี้ตัวอ่อนจะมีน้ำหนักอยู่ 11 กรัม ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร
ระวัง : ร่างกาย
ในช่วง 2 เดือนแรก ทารกจะเป็นผู้ที่ทำงานหนักเพราะมีการปรับเปลี่ยนและเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง ทำให้ทารกรับรู้ได้ไว พึงระวังครรภ์ของคุณเพือปกป้องทารกก่อนวันที่จะมีประจำเดือน ทารกของคุณอาจจะมาถึงอย่างเงียบ ๆ แล้วก็ได้ในกรณ์ที่มีความกังวล ควรรักษาสุขอนามัย หลีกเลี่ยงของมืนเมา บุหรี่ ยา และการถ่ายเอ็กซเรย์
3 เดือน : ตัวอ่อนฟักตัวเสร็จ
สร้างผลงานชิ้นใหญ่สำเร็จแล้ว กล่าวคืออวัยวะต่าง ๆ เริ่มพัฒนาขึ้นกล้ามเนี้อขยายตัว กระดูกแข็งขึ้นมีภาพเค้ร่างปรากฏของสมอง และปฏิกิริยาต่าง ๆ เริ่มสั่งการเป็นระบบ ช่วงระยะ 3 เดือน ทารกมีลำตัวยาว 10 เซนติมตร และหนัก 45 กรัม ทารกกำลังผ่านขั้นตอนการเป็น "ตัวอ่อน" ในช่วงนี้ ทารกเริ่มมีผันเรียงแถว มีเล็บ ผมเริ่มขึ้น และทากรมักจะมี "ศรีษะโต"
ช่วง 4-6 เดือน : ตัวอ่อนมีการพัฒนาส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย
4 เดือน : ตัวอ่อนก่อตัวเป็นรูปเป็นร่าง
4 เดือนตัวอ่อนเริ่มมีพัฒนาการเป็นทารกแล้ว อวัยวะทุกอย่างเริ่มทำงาน และมีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว จึงต้องมีกำหนดเวลาว่า ทารกจะมีอัตราการเต้นของหัวใจ 140 ครั้งต่อนาที ศรีษะโตเกือบสมบูรณ์ มีผมขึ้น กระดูกอ่อนที่เชื่อมต่อกับเส้นขนอ่อน ๆ หรือ "ขนอ่อน" ที่ห่อหุ้มร่างการทารกน้อยจนกระทั่งถึงตอนคลอด
ชายหรือหญิงกันแน่
มรดกทางกรรมพันธุ์จากอสุจิ ซึ่งปฏิสนธิกับไข่จะเป็นตัวกำหนดว่าทารกเป็นเพศชาย หรือเพศหญิง รอจนถึงปลายเดือนที่สี่เมื่ออัลตราซาวด์จะเห็นเพศได้ชัดเจน โดยดุจากตำแหน่งของทารกขณะอัลตราซาวด์
5 เดือน : เด็กตอบสนองการสัมผัสจากคุณ
เป็นเรื่องโชคดีสำหรับการตั้งครรภ์ครั้งแรก คุณจะดีใจกับการรับรู้แรกที่ทารกสัมผัสทารกจะออกแรงเพือถีบตัวตอนคุณพักผ่อน เขาจะบิดตัวเมื่อรู้สึกตัวและเขามักชอบทำเช่นนั้น ในถุงของเหลวที่มีเยื่อถุงน้ำคร่ำที่มีพื้นที่ให้ทารกน้อยอาบน้ำได้
6 เดือน : แห่งการตื่นตัวของทารก
ทารกอาจขยับตัว 20 ครั้งต่อชั่วโมง และมากว่านี้ เมื่อทารกตกใจ แขนตะพับอยุ่ตรงทรวงอก หัวเข่างอขึ้นมาถึงช่วงท้องซึ่งเด็กส่วนใหญ่จะอยู่ในท่าอย่างที่ควรจะเป็นทารก ทารกอาจนอนหลับ 16 ถึง 20 ชั่วโมงต่อวัน
สื่อสารกับทารกได้
ทารกยังไม่เกิด แต่สามารถแสดงความคิดได้ สามารถส่งข้อความและการรับรู้จากสิ่งกระตุ้นเร้าของสิ่งรอบด้านได้ กล่าวคือ เสียงของแม่ที่พูดคุญหรือการสัมผัสลูบไล้ครรภ์ จะสามารถเตรียมความพร้ามทางจิตใจ และเกิดการเรียนรู้ที่ดีของทารกน้อยได้
ช่วง 7-9 เดือน : ทารกเจริญเติบโตเต็มที่ และรอคอยการออกมาสู่โลกภายนอก
7 เดือน : ชีวิต คือการมองเห็น
ทารกของคุณเริ่มมองเห็นรูปร่างที่คลุมเครือ และแสงที่มีสีแดงจากเนื้อเยื่อของมดลูก ทารกเริ่มมีแก้วหู ได้ยิชัดเจน มีน้ำหนักตัว 1,800 กรัม ความสูง 40 เซนติเมตร เนื่องจากร่ายกายทารกเจริญเติบโตจึงเหลือเนี้อที่ที่ขยับตัวได้น้อยลง การออกกำลั้งกาย สิ้นสุดลงแล้ว ขณะนี้ทารกจะอาศัยการออกกำลังกายเพื่อเคลื่อนไหวร่างการ และทำให้ระบบประสาทสมบูรณ์ ช่วงระยะนี้มี"ไข่หุ้ม"ทารก คล้ายเนยแข็ง หรือเปลือกหุ้มสีขาวที่คอยปกป้องทารกจนกว่าจะคลอด
8 เดือน : เด็กเจริญเติบโตเต็มที่และเจริญอาหาร
ช่วงระยะนี้ ทารกสามารถรับรู้รสชาติอาหารอขงคุณได้ ผลก็คือเจ้าตัวน้อยของคุณอ้วนท้วนผิวหนังของทารกที่มีไขมันเกาะคลายตัว และเริ่มเป็นสีชมพู สดใสอวัยวะหลัก ๆ เริ่มเจริญเติบโตเต็มที่ ส่วนหัวใจนั้นยังต้องเจริญเติบโตต่อไป หัวใจข้างซ้าย และข้าวขวาจะปิดตัวก็เมื่อถึงเวลาคลอดเท่านั้น ถ้าทารกคลอดก่อนเจริญเติบโตเต็มที่ ทารกจะหายใจอ่อน สารอาหารที่มีไขมันจะช่วยทำให้วลจรอขงปอดแข็งแรง ระบบอวัยวะของทารกจะจัดวางเป็นระเบี้ยบ ก่อกำหนดคลอดคือ ศรีษะกลับลงอยู่ด้านล่างตรงปากมดลูก
พร้อมลือตาดูโลก
9 เดือน : พร้อมลือตาดูโลก
ส่วนของขนอ่อหายไป มันจะดูสวยงามตอนคลอด ทารกจะใช้เวลาออกแรง 20 ถึง 30 กรัมต่อวั เป็นการเตื่อนว่าจะคลอดล่วงหน้า ช่วงสัปดาห์ที่ 38 ทารกพร้อมออกมาผจญภัยครั้งยิ่งใหญ่
สวัสดีโลกใบใหม่