การเจ็บที่หัวนมหรือหัวนมแตกนั้น เป็นปัญหาใหญ่เมื่่อเด็กโตขึ้น คุณจำเป็นต้องปรับตำแหน่งเพื่อให้เขาได้รับน้ำนมได้อย่างเหมาะสม หากยังมีอาการเจ็บที่หัวนมควรขอคำปรึกษาจากแพทย์ เพือให้เข้าใจถึงวิธีการให้น้ำนมที่ถูกต้องเมื่อเด็กมีฟันซี่แรก เด็กอาจพยายามกัดหรือเคี้ยวให้อ้าปากของเด็กอย่างช้า ๆ อย่างเบามือ และพูดว่า "ไม่" ไม่นานเด็กจะเข้าใจความหมายของมัน
การดูดนมอย่างตะกละ
มักเกิดขึ้นตอนที่เด็กได้รับน้ำนมในครั้งแรก หรือภายหลังจากที่เด็กนอนหลับนานกว่าปกติ ซึ่งทำให้ผู้เป็นแม่รู้สึกแสบ หรือเจ็บที่หัวนม เพื่อเป็นการป้องกัน ควรให้เด็กได้รับน้ำนมจากอกเพียงข้างเดียวก่อน จากนั้นค่อยให้เด็กได้รับน้ำนมจากอกอีกข้างหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเด็กที่นอนมาก จำเป็นต้องเตือนเขาเมื่อถึงเวลาที่เขาควรได้ทางนมแล้ว ให้นำผ้าที่ห่อตัวเด็กออก ลูบแก้มและขากรรไกรเขาเบา ๆ จะทำให้เขาตื่นขึ้น
มักเกิดขึ้นตอนที่เด็กได้รับน้ำนมในครั้งแรก หรือภายหลังจากที่เด็กนอนหลับนานกว่าปกติ ซึ่งทำให้ผู้เป็นแม่รู้สึกแสบ หรือเจ็บที่หัวนม เพื่อเป็นการป้องกัน ควรให้เด็กได้รับน้ำนมจากอกเพียงข้างเดียวก่อน จากนั้นค่อยให้เด็กได้รับน้ำนมจากอกอีกข้างหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเด็กที่นอนมาก จำเป็นต้องเตือนเขาเมื่อถึงเวลาที่เขาควรได้ทางนมแล้ว ให้นำผ้าที่ห่อตัวเด็กออก ลูบแก้มและขากรรไกรเขาเบา ๆ จะทำให้เขาตื่นขึ้น
เด็กได้รับน้ำนมเพียงพอหรือยัง
ผู้หญิงหลายคนมีความกังวลต่อความสามารถของร่างการในการสร้างน้ำนมให้แก่เด็ก เพราะไม่มีใครสามามารถสังเกตุได้จากสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
-ในหนึ่งวันเด็กควรได้รับน้ำนม 6-8 ครัั้ง/วัน
-ควรขับถ่ายของเหลวหรือ ควรเปลี่ยนผ้าอ้อมสำเร็จรูป
-ประมาณ 6 ผืน/วัน
-หน้าอกของคุณนิ่มลงภายหลัง จากการให้น้ำนม
-เด็กควรมีน้ำหนักตัวที่เหมาะสม
-บางครั้งอาจมีการแหวะหรือเรอ ภายหลังจากการได้รับน้ำนม
-เด็กจะรู้สึกสดชื่่นขึ้นภายหลังจากการได้รับน้ำนม
-ในหนึ่งวันเด็กควรได้รับน้ำนม 6-8 ครัั้ง/วัน
-ควรขับถ่ายของเหลวหรือ ควรเปลี่ยนผ้าอ้อมสำเร็จรูป
-ประมาณ 6 ผืน/วัน
-หน้าอกของคุณนิ่มลงภายหลัง จากการให้น้ำนม
-เด็กควรมีน้ำหนักตัวที่เหมาะสม
-บางครั้งอาจมีการแหวะหรือเรอ ภายหลังจากการได้รับน้ำนม
-เด็กจะรู้สึกสดชื่่นขึ้นภายหลังจากการได้รับน้ำนม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น